วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

รถลาก รถยก รถสไลด์0935431132 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รถลาก รถยก รถสไลด์0935431132 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอท่าเรือ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอนครหลวง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบางซ้าย
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบางบาล
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบ้านแพรก
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอผักไห่
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอพระนครศรีอยุธยา
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอภาชี
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเสนา
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอวังน้อย
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภออุทัย
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบางปะหัน
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบางปะอิน

เข้าดูผลงานที่  http://www.4-6-10trucks.com/index.php/board,14.0.html

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า"

การแบ่งเขตการปกครอง
ประวัติความเป็นมาของเขตการปกครองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา[แก้]
ในสมัยอาณาจักรอยุธยามีการแบ่งการปกครองในราชธานีออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่

การปกครองภายในบริเวณกำแพงเมือง โดยในบริเวณกำแพงเมืองก็จะแบ่งออกเป็น 4 แขวงได้แก่
แขวงขุนธรณีบาล
แขวงขุนโลกบาล
แขวงขุนธราบาล
แขวงขุนนราบาล
ต่อมาในสมัยอาณาจักรธนบุรีจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้รวมทั้ง 4 แขวงภายในกำแพงเมืองเป็นแขวงเดียวกัน เรียกว่า "แขวงรอบกรุง" และขยายอาณาเขตออกมาเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน และต่อมาเปลี่ยนมาเป็นอำเภอรอบกรุง อำเภอกรุงเก่าและอำเภอพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน ตามลำดับ

การปกครองนอกบริเวณกำแพงเมือง บริเวณนอกกำแพงเมืองแบ่งออกเป็น 3 แขวงได้แก่
แขวงขุนนคร อยู่ทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของกำแพงพระนครตั้งแต่ลำน้ำลพบุรีและลุ่มน้ำป่าสัก ต่อมามีการแบ่งออกเป็นแขวง คือทางด้านตะวันตกเป็น แขวงนครใหญ่และด้านตะวันออกเป็นแขวงนครน้อย
แขวงขุนอุทัย อยู่ทางใต้ตั้งแต่เขตของแขวงขุนนครตลอดลงมายังมายังแม่น้ำเจ้าพระยาด้านตะวันออก ต่อมาได้มีการแบ่งออกเป็นแขวง คือ แขวงอุทัยใหญ่และแขวงอุทัยน้อย
แขวงขุนเสนา อยู่ทางด้านตะวันตกมีอาณาเขตด้านเหนือจรดตะวันตกเฉียงใต้ของแขวงขุนนครและตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมา ได้มีการแบ่งออกเป็นแขวง คือแขวงเสนาใหญ่และแขวงเสนาน้อย
ดังนั้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวแขวงในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจึงมีทั้งหมด 7 แขวงคือ

แขวงรอบกรุง
แขวงนครใหญ่
แขวงนครน้อย
แขวงอุทัยใหญ่
แขวงอุทัยน้อย
แขวงเสนาใหญ่
แขวงเสนาน้อย
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการจัดระเบียบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล มีการรวมเมืองเข้าด้วยกันเป็นมณฑล เปลี่ยนคำเรียกเมือง เป็นจังหวัด แขวง จึงต้องเปลี่ยนเป็น อำเภอ ตามไปด้วย

ต่อมาสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นได้ทรงดำริว่า "อำเภอแต่ละอำเภอมีพลเมืองมากและมีท้องที่กว้างจึงให้แบ่งเขตการปกครองออกไปอีก ในทุกอำเภอยกเว้นอำเภอรอบกรุง อำเภออุทัยใหญ่และอำเภออุทัยน้อยดังนี้"

อำเภอนครใหญ่ ให้ทางตอนเหนือคงเป็นอำเภอนครใหญ่และแบ่งเขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็น อำเภอนครใน
อำเภอนครน้อย ให้ทางตอนเหนือคงเป็นอำเภอนครน้อยและแบ่งเขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็น อำเภอนครกลาง (ต่อมาในปีพ.ศ. 2446เปลี่ยนชื่ออำเภอนครกลางเป็นอำเภอนครหลวงจนถึงปัจจุบัน )
อำเภอเสนาใหญ่ ให้ทางตอนเหนือคงเป็นอำเภอเสนาใหญ่และแบ่งเขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็นอำเภอเสนากลาง
อำเภอเสนาน้อย ให้ทางตอนเหนือคงเป็นอำเภอเสนาน้อยและแบ่งเขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็น อำเภอเสนาใน
ต่อมาพ.ศ. 2443เปลี่ยนชื่ออำเภออุทัยน้อยเป็นอำเภอพระราชวัง

ในปีพ.ศ. 2450ได้แบ่งเขตท้องที่อำเภอพระราชวังด้านตะวันออก รวมกับ อำเภออุทัยใหญ่ด้านใต้ แล้วยกขึ้นเป็นอำเภออุทัยน้อยแทนอำเภออุทัยน้อยเดิมที่เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอพระราชวัง

ต่อมามีการเปลี่ยนชื่ออำเภอต่างๆให้ตรงกับชื่อตำบลที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ อำเภอต่างๆของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจึงได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อใหม่ดังนี้[5]

อำเภอรอบกรุง เป็น อำเภอกรุงเก่าและ เปลี่ยนเป็น อำเภอพระนครศรีอยุธยา
อำเภอนครใหญ่ เป็นอำเภอมหาราช
อำเภอนครใน เป็น อำเภอบางปะหัน
อำเภอนครน้อย เป็น อำเภอท่าเรือ
อำเภอนครหลวง คงเป็นอำเภอนครหลวง ดังเดิม
อำเภอเสนาใหญ่ เป็น อำเภอผักไห่
อำเภอเสนาใน เป็น อำเภอบางบาล
อำเภอเสนากลาง เป็น อำเภอเสนา
อำเภอเสนาน้อย เป็น อำเภอราชคราม และเปลี่ยนเป็น อำเภอบางไทร
อำเภอพระราชวัง เป็น อำเภอบางปะอิน
อำเภออุทัยใหญ่ เป็น อำเภออุทัย
อำเภออุทัยน้อย เป็น อำเภอวังน้อย
และอีก 4 กิ่งอำเภอได้แก่ กิ่งอำเภอลาดบัวหลวง (ขึ้นกับอำเภอบางไทร), กิ่งอำเภอภาชี (ขึ้นกับอำเภออุทัย), กิ่งอำเภอบางซ้าย (ขึ้นกับอำเภอเสนา) และกิ่งอำเภอบ้านแพรก (ขึ้นกับอำเภอมหาราช) ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอตามลำดับจนครบในปีพ.ศ. 2502

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด คือรูปสังข์ซึ่งประดิษฐานอยู่ในพานแว่นฟ้าภายในปราสาทใต้ต้นหมัน ซึ่งนับถือกัน[ใครกล่าว?] ว่าเป็นสัญลักษณ์อันประเสริฐ
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกโสน (Sesbania aculeata)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: หมัน (Cordia dichotoma)
คำขวัญประจำจังหวัด: ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานท์กวี คนดีศรีอยุธยา

เศรษฐกิจ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาถือเป็นจังหวัดที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดระยอง และ จังหวัดสมุทรสาคร

ทั้งนี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 2 มีนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่ง ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า (ไฮเทค) และนิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร มีเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แห่ง ได้แก่ เขตประกอบการอุตสาหกรรมแฟตเตอรี่แลนด์วังน้อย และ[เขตประกอบการอุตสาหกรรมสวนอุตสาหกรรมโรจนะ

การคมนาคม
รถยนต์
ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านประตูน้ำพระอินทร์แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32 เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 309 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทางหลวงหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข 302 (ถนนงามวงศ์วาน) เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 306 (ถนนติวานนท์) แล้วข้ามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวีไปยังจังหวัดปทุมธานีต่อด้วยเส้นทาง ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข 3111) เลี้ยวแยกขวาที่อำเภอเสนา เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3263 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เส้นทางกรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปทุมธานีทางหลวงหมายเลข 306 ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยวเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 347 แล้วไปแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 3309 ผ่านศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางปะอิน เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

อำเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น