รถลาก รถยก รถสไลด์0935431132 จังหวัดนราธิวาส
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอจะแนะ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเจาะไอร้อง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอตากใบ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบาเจาะ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเมืองนราธิวาส
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอยี่งอ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอระแงะ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอรือเสาะ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอแว้ง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอศรีสาคร
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอสุคิริน
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอสุไหงโก-ลก
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอสุไหงปาดี
เข้าดูผลงานที่ http://www.4-6-10trucks.com/index.php/board,14.0.html
จังหวัดนราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 717,366 คน แยกเป็นชาย 356,229 คน หญิง 361,137 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก
ที่มาของชื่อ
ชื่อนราธิวาสเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นมาใหม่ในปี พ.ศ. 2458 ชื่อเดิมของพื้นที่นี้คือ มนารา หรือ มนารอ (มาเลย์: Menara; منارا) ซึ่งมีความหมายว่า "หอคอย" ที่กลายมาจากคำว่า กูวาลา มนารา (มาเลย์: Kuala Menara) ที่มีความหมายว่า "กระโจมไฟ" หรือ "หอคอยที่ปากน้ำ"
ส่วนชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธจะเรียกว่า บางนรา หรือ บางนาค ต่อมาในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองขึ้นใหม่ว่า นราธิวาส อันมีความหมายว่า "อันเป็นที่อยู่ของคนดี"
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ดอกบานบุรีเหลือง (Odontadenia macrantha)
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ตะเคียนชันตาแมว (Neobalanocarpus heimii)
คำขวัญประจำจังหวัด
ทักษิณราชตำหนัก ชนรักศาสนา นราทัศน์เพลินตา ปาโจตรึงใจ แหล่งใหญ่แร่ทอง ลองกองหอมหวาน
— คำขวัญประจำจังหวัดนราธิวาส
ชาวจังหวัดนราธิวาสส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทำนา การเพาะปลูกพืชทางเศรษฐกิจ คือ ยางพารา ลองกอง เงาะ ทุเรียน เป็นต้น พืชที่สร้างชื่อเสียงของนราธิวาสคือ ลองกองบ้านซีโปตันหยงมัส มีรสชาดหวานนุ่มหอมอร่อยสามารถขายได้ราคาดี นอกจากการเกษตรแล้วบางส่วนก็ทำธุรกิขค้าขาย และทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เป็นต้น
สังคมและวัฒนธรรม
เชื้อชาติ ส่วนมากเป็นชาวไทยเชื้อสายมลายูดั้งเดิม ชาวไทย ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวมาเลเซียอพยพจากมาเลเซีย
ศาสนา ชาวไทยมุสลิม 82% ชาวไทยพุทธ 17.9% คริสต์ และอื่น ๆ 0.1%
ภาษา ส่วนใหญ่ 80.4% ใช้ภาษามลายูปัตตานี นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาษาไทยถิ่นใต้, ภาษาไทยตากใบ และภาษาจีน
การศึกษา
ปัจจุบันมีสถานศึกษารวมทั้งหมด 488 แห่ง (ไม่รวมแหล่งวิชาการนอกระบบ) สังกัด สปช. 255 แห่ง สังกัด สศ. 18 แห่ง สังกัด สช. 82 แห่ง สังกัด กศป. 15 แห่ง สังกัดเทศบาล 10 แห่ง สถาบันศึกษาปอเนาะที่จดทะเบียน 76 สถาบัน จำนวนนักศึกษาก่อนประถมศึกษา 31,200 คน ระดับประถมศึกษา 88,200 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 17,300 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. 9,400 คน ระดับอุดมศึกษา (ปวส.) 900 คน ระดับอุดมศึกษา (วิทยาลัยพยาบาล) 800 คน รวม 147,700 ค
ศิลปและวัฒนธรรม ลิเกฮูลู (ดิเกฮูลู), มะโย่ง, โนราแขก
อำเภอในจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 717,366 คน แยกเป็นชาย 356,229 คน หญิง 361,137 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก
ที่มาของชื่อ
ชื่อนราธิวาสเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นมาใหม่ในปี พ.ศ. 2458 ชื่อเดิมของพื้นที่นี้คือ มนารา หรือ มนารอ (มาเลย์: Menara; منارا) ซึ่งมีความหมายว่า "หอคอย" ที่กลายมาจากคำว่า กูวาลา มนารา (มาเลย์: Kuala Menara) ที่มีความหมายว่า "กระโจมไฟ" หรือ "หอคอยที่ปากน้ำ"
ส่วนชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธจะเรียกว่า บางนรา หรือ บางนาค ต่อมาในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองขึ้นใหม่ว่า นราธิวาส อันมีความหมายว่า "อันเป็นที่อยู่ของคนดี"
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ดอกบานบุรีเหลือง (Odontadenia macrantha)
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ตะเคียนชันตาแมว (Neobalanocarpus heimii)
คำขวัญประจำจังหวัด
ทักษิณราชตำหนัก ชนรักศาสนา นราทัศน์เพลินตา ปาโจตรึงใจ แหล่งใหญ่แร่ทอง ลองกองหอมหวาน
— คำขวัญประจำจังหวัดนราธิวาส
ชาวจังหวัดนราธิวาสส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทำนา การเพาะปลูกพืชทางเศรษฐกิจ คือ ยางพารา ลองกอง เงาะ ทุเรียน เป็นต้น พืชที่สร้างชื่อเสียงของนราธิวาสคือ ลองกองบ้านซีโปตันหยงมัส มีรสชาดหวานนุ่มหอมอร่อยสามารถขายได้ราคาดี นอกจากการเกษตรแล้วบางส่วนก็ทำธุรกิขค้าขาย และทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เป็นต้น
สังคมและวัฒนธรรม
เชื้อชาติ ส่วนมากเป็นชาวไทยเชื้อสายมลายูดั้งเดิม ชาวไทย ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวมาเลเซียอพยพจากมาเลเซีย
ศาสนา ชาวไทยมุสลิม 82% ชาวไทยพุทธ 17.9% คริสต์ และอื่น ๆ 0.1%
ภาษา ส่วนใหญ่ 80.4% ใช้ภาษามลายูปัตตานี นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาษาไทยถิ่นใต้, ภาษาไทยตากใบ และภาษาจีน
การศึกษา
ปัจจุบันมีสถานศึกษารวมทั้งหมด 488 แห่ง (ไม่รวมแหล่งวิชาการนอกระบบ) สังกัด สปช. 255 แห่ง สังกัด สศ. 18 แห่ง สังกัด สช. 82 แห่ง สังกัด กศป. 15 แห่ง สังกัดเทศบาล 10 แห่ง สถาบันศึกษาปอเนาะที่จดทะเบียน 76 สถาบัน จำนวนนักศึกษาก่อนประถมศึกษา 31,200 คน ระดับประถมศึกษา 88,200 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 17,300 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. 9,400 คน ระดับอุดมศึกษา (ปวส.) 900 คน ระดับอุดมศึกษา (วิทยาลัยพยาบาล) 800 คน รวม 147,700 ค
ศิลปและวัฒนธรรม ลิเกฮูลู (ดิเกฮูลู), มะโย่ง, โนราแขก
อำเภอในจังหวัดนราธิวาส
- อำเภอรือเสาะ
- อำเภอแว้ง
- อำเภอศรีสาคร
- อำเภอสุคิริน
- อำเภอสุไหงโก-ลก
- อำเภอสุไหงปาดี
- อำเภอจะแนะ
- อำเภอเจาะไอร้อง
- อำเภอตากใบ
- อำเภอบาเจาะ
- อำเภอเมืองนราธิวาส
- อำเภอยี่งอ
- อำเภอระแงะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น