รถลาก รถยก รถสไลด์0935431132 จังหวัดชัยภูมิ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเกษตรสมบูรณ์
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอแก้งคร้อ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอคอนสวรรค์
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอคอนสาร
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอจัตุรัส
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอซับใหญ่
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเทพสถิต
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเนินสง่า
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบ้านเขว้า
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบ้านแท่น
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอบำเหน็จณรงค์
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอภักดีชุมพล
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอภูเขียว
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเมืองชัยภูมิ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอหนองบัวแดง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอหนองบัวระเหว
เข้าดูผลงานที่ http://www.4-6-10trucks.com/index.php/board,14.0.html
จังหวัดชัยภูมิ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2440 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงได้เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองประเทศใหม่จัดเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน โดยรวมเอา 5 เมืองที่ขึ้นต่อเมืองนครราชสีมาในอดีต ได้แก่ เมืองชัยภูมิ เมืองสี่มุม (จัตุรัส) เมืองภูเขียว (ผักปัง) เมืองเกษตรสมบูรณ์ (บ้านยาง) และเมืองบำเหน็จณรงค์ (บ้านชวน) โดยเลือกเอาเมืองชัยภูมิ ซึ่งอยู่ตรงกลางระหว่างสองเมืองใหญ่คือเมืองสี่มุม (จัตุรัส) และเมืองภูเขียว (ผักปัง) ยกฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัด และเปลี่ยนเป็นอำเภอเมืองชัยภูมิ ยุบเมืองทั้ง 4 เป็นอำเภอ ได้แก่ อำเภอจัตุรัส อำเภอภูเขียว อำเภอเกษตรสมบูรณ์ และอำเภอบำเหน็จณรงค์ ต่อมาได้มีการยุบอำเภอบำเหน็จณรงค์ให้อยู่ในการปกครองของอำเภอจัตุรัส และยุบอำเภอเกษตรสมบูรณ์ให้อยู่ในการปกครองของอำเภอภูเขียว เนื่องจากอำเภอทั้ง 2 นั้นอยู่ไม่ไกลกัน จังหวัดชัยภูมิจึงเหลืออยู่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชัยภูมิ อำเภอจัตุรัส และอำเภอภูเขียว ที่เป็น 3 เมืองเสาหลัก ร่วมก่อตั้งจังหวัดชัยภูมิขึ้นมา และเจริญมาตามลำดับ ปัจจุบันจังหวัดชัยภูมิแบ่งการปกครองทั้งหมด 16 อำเภอ เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ 7 ของประเทศ โดยมีเนื้อที่ประมาณ 12,778.3 ตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของแหล่งอารยธรรมอันเก่าแก่นับตั้งแต่สมัยทวารวดี สมัยขอม กระทั่งสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านช้าง
ชัยภูมิมีเขตติดต่อกับจังหวัดเพื่อนบ้านหลายจังหวัด ได้แก่ ทิศเหนือ ติดกับเพชรบูรณ์และขอนแก่น ทิศตะวันออกติดกับขอนแก่นและนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี และทิศใต้ติดกับจังหวัดนครราชสีมา
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด: รูปธงสามชาย หมายถึงธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนครได้เลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ทำเลเหมาะแก่การสู้รบป้องกันตัว จึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญลักษณ์เป็นรูปธงสามแฉก
คำขวัญประจำจังหวัด: ชัยภูมิ เมืองผู้กล้า พญาแล
คำขวัญเพื่อการท่องเที่ยว: ทิวทัศน์สวย รวยป่าใหญ่ มีช้างหลาย ดอกไม้งาม ลือนามวีรบุรุษ สุดยอดผ้าไหม พระใหญ่ทวารวดี
ประวัติศาสตร์
อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) ที่หน้าวงเวียนศูนย์ราชการจังหวัดชัยภูมิ
สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิปรากฏในทำเนียบแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา แต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่งทำมาหากินที่อื่น และเมื่อปี พ.ศ. 2360 "นายแล" ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทน์ได้อพยพครอบครัวและบริวารเดินทางข้ามลำน้ำโขงมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านหนองน้ำขุ่น (หนองอีจาน) ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2362 เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มาก นายแลก็ได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบำเหน็จความชอบแต่งตั้งเป็น "ขุนภักดีชุมพล" ในปี พ.ศ. 2365 นายแลได้ย้ายชุมชนอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวงซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากับหนองหลอด (เขตอำเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน) และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์อีกต่อไป พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้านหลวงขึ้นเป็น เมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล (แล) เป็น "พระยาภักดีชุมพล" เจ้าเมืองคนแรก
ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพมหานคร โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพมหานครรบกับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ.ศ. 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นต่อมาเมื่อความแตก เจ้าอนุวงศ์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมาเพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทน์
เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพล (แล) เจ้าเมืองชัยภูมิ พร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไปสมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์จนแตกพ่ายไป ฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่งล่าถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้และเกลี้ยกล่อมให้พระยาภักดีชุมพลเข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลาเฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดีที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน จึงได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้น ปัจจุบันทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า "ศาลาพระยาภักดีชุมพล (แล)" มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไหว้และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัด ตั้งอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ 3 กิโลเมตร
อำเภอในจังหวัดชัยภูมิ
จังหวัดชัยภูมิ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2440 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงได้เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองประเทศใหม่จัดเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน โดยรวมเอา 5 เมืองที่ขึ้นต่อเมืองนครราชสีมาในอดีต ได้แก่ เมืองชัยภูมิ เมืองสี่มุม (จัตุรัส) เมืองภูเขียว (ผักปัง) เมืองเกษตรสมบูรณ์ (บ้านยาง) และเมืองบำเหน็จณรงค์ (บ้านชวน) โดยเลือกเอาเมืองชัยภูมิ ซึ่งอยู่ตรงกลางระหว่างสองเมืองใหญ่คือเมืองสี่มุม (จัตุรัส) และเมืองภูเขียว (ผักปัง) ยกฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัด และเปลี่ยนเป็นอำเภอเมืองชัยภูมิ ยุบเมืองทั้ง 4 เป็นอำเภอ ได้แก่ อำเภอจัตุรัส อำเภอภูเขียว อำเภอเกษตรสมบูรณ์ และอำเภอบำเหน็จณรงค์ ต่อมาได้มีการยุบอำเภอบำเหน็จณรงค์ให้อยู่ในการปกครองของอำเภอจัตุรัส และยุบอำเภอเกษตรสมบูรณ์ให้อยู่ในการปกครองของอำเภอภูเขียว เนื่องจากอำเภอทั้ง 2 นั้นอยู่ไม่ไกลกัน จังหวัดชัยภูมิจึงเหลืออยู่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชัยภูมิ อำเภอจัตุรัส และอำเภอภูเขียว ที่เป็น 3 เมืองเสาหลัก ร่วมก่อตั้งจังหวัดชัยภูมิขึ้นมา และเจริญมาตามลำดับ ปัจจุบันจังหวัดชัยภูมิแบ่งการปกครองทั้งหมด 16 อำเภอ เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ 7 ของประเทศ โดยมีเนื้อที่ประมาณ 12,778.3 ตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของแหล่งอารยธรรมอันเก่าแก่นับตั้งแต่สมัยทวารวดี สมัยขอม กระทั่งสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านช้าง
ชัยภูมิมีเขตติดต่อกับจังหวัดเพื่อนบ้านหลายจังหวัด ได้แก่ ทิศเหนือ ติดกับเพชรบูรณ์และขอนแก่น ทิศตะวันออกติดกับขอนแก่นและนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี และทิศใต้ติดกับจังหวัดนครราชสีมา
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด: รูปธงสามชาย หมายถึงธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนครได้เลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ทำเลเหมาะแก่การสู้รบป้องกันตัว จึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญลักษณ์เป็นรูปธงสามแฉก
คำขวัญประจำจังหวัด: ชัยภูมิ เมืองผู้กล้า พญาแล
คำขวัญเพื่อการท่องเที่ยว: ทิวทัศน์สวย รวยป่าใหญ่ มีช้างหลาย ดอกไม้งาม ลือนามวีรบุรุษ สุดยอดผ้าไหม พระใหญ่ทวารวดี
ประวัติศาสตร์
อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) ที่หน้าวงเวียนศูนย์ราชการจังหวัดชัยภูมิ
สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิปรากฏในทำเนียบแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา แต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่งทำมาหากินที่อื่น และเมื่อปี พ.ศ. 2360 "นายแล" ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทน์ได้อพยพครอบครัวและบริวารเดินทางข้ามลำน้ำโขงมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านหนองน้ำขุ่น (หนองอีจาน) ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2362 เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มาก นายแลก็ได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบำเหน็จความชอบแต่งตั้งเป็น "ขุนภักดีชุมพล" ในปี พ.ศ. 2365 นายแลได้ย้ายชุมชนอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวงซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากับหนองหลอด (เขตอำเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน) และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์อีกต่อไป พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้านหลวงขึ้นเป็น เมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล (แล) เป็น "พระยาภักดีชุมพล" เจ้าเมืองคนแรก
ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพมหานคร โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพมหานครรบกับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ.ศ. 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นต่อมาเมื่อความแตก เจ้าอนุวงศ์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมาเพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทน์
เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพล (แล) เจ้าเมืองชัยภูมิ พร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไปสมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์จนแตกพ่ายไป ฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่งล่าถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้และเกลี้ยกล่อมให้พระยาภักดีชุมพลเข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลาเฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดีที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน จึงได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้น ปัจจุบันทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า "ศาลาพระยาภักดีชุมพล (แล)" มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไหว้และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัด ตั้งอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ 3 กิโลเมตร
อำเภอในจังหวัดชัยภูมิ
- อำเภอคอนสวรรค์
- อำเภอคอนสาร
- อำเภอจัตุรัส
- อำเภอซับใหญ่
- อำเภอเทพสถิต
- อำเภอเนินสง่า
- อำเภอบ้านเขว้า
- อำเภอบ้านแท่น
- อำเภอบำเหน็จณรงค์
- อำเภอภักดีชุมพล
- อำเภอภูเขียว
- อำเภอเมืองชัยภูมิ
- อำเภอหนองบัวแดง
- อำเภอหนองบัวระเหว
- อำเภอเกษตรสมบูรณ์
- อำเภอแก้งคร้อ
ให้เช่ารถสิบล้อรับจ้างชัยภูมิ
รถรับจ้างขนถือได้ว่าหมายถึงหนึ่งในกิจการที่รับความนิยมเป็นอย่างมากมายในจังหวัดจังหวัดชัยภูมิทั่วในแง่เครื่องใช้นำลงทุนหรือนักธุรกิจให้บริการรถรับจ้างต่างๆพร้อมด้วยผู้ใช้บริการ
ซึ่งอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือกงสีห้างร้านรวงต่างๆก็ได้ด้วย
ดังนั้นการใช้งานรถรับจ้างขนส่งในจังหวัดจังหวัดชัยภูมิจึงมีการใช้งานสูงมากพร้อมด้วยในขณะหนึ่งเดียวกันก็มีการชิงสุงมากอาทิเช่นเดียวกันเพื่อบริษัทที่ให้บริการรถรับจ้างไม่ว่าจะเป็นรถพรรค์สิ่งไรก็ยินยอม
พร้อมกับเพื่อบริษัทของฉันก็จงการที่จะสร้างบริการที่ดีและหมายความว่าที่จดจำของผู้ใช้บริการของฉันทั้งในชาวชัยภูมิเอง
พร้อมด้วยคนจากที่อื่นๆที่ได้ใช้บริการรถรับจ้างของฉันด้วยเพราะว่าบริการต้นแบบของฉันนั่นก็คือรถบรรทุกของซื้อของขายนั่นเอง
ซึ่งหนีบได้ว่าร้ายเป็นรถลักษณะที่มีผู้ให้บริการสิงส่วนแบ่งเอ็ด
อย่างไรก็ดีเรากล้ารับประกันเลยว่าไม่มีบริษัทที่ใดที่ให้บริการได้รวดเร็วพร้อมทั้งดีเลิศเท่าบรืษัทของฉันอีกแล้ว
ซึ่งในปัจจุบันหุ้นส่วนของฉันได้ให้บริการรถสิบล้อของซื้อของขายรับจ้างทั้งมวล 3
ลักษณะด้วยกันโน่นก็คือ รถหกล้อรับจ้าง รถ 10 ล้อรับจ้างพร้อมทั้ง
รถพ่วงพร้อมด้วยรถเทรลเลอร์นั่นเอง
เพื่อรถหกล้อรับจ้างนั้นเนื่องด้วยเป้นรถชนิดที่มีการจ้างงานมาไม่เบาที่สุด
เพราะฉะนั้นเราจึงได้ตั้งราคาค่าว่าจ้างไว้ถูกกว่าบริษัทอื่นๆนิดหน่อยที่สุด
เพราะว่าผู้ที่เข้ามาใช้งานนั้นมีทั้งวงการราษฎรทั่วไปที่ต้องการอดออมงบในการจ้างรถบรรทุก
พร้อมด้วยกลุ่มผู้ซื้อนิจสินที่ต้องการมัธยัสถ์งบการขนย้ายของซื้อของขายในระยะยาวนั่นเอง
อย่างไรก็ดีการใช้งานรถหกล้อรับจ้างมักอาศัยในอาณาเขตพื้นที่เท่าๆ
กันเสียยิ่งกว่าเนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องของส่วนแบ่งการประทุก
ในชั่วโมงที่รถ 10
ล้อรับจ้างไม่มีข้อแย่นั้นเพราะว่านอกลูกจากรถ 10
ล้อรับจ้างจะเก่งขนส่งของซื้อขายระยะไกลได้ดีแล้วยังสามารถขนส่งของซื้อของขายได้เป็นโควตามากๆในครั้งเดียวเช่นกัน
ดังนั้นส่วนใหญ่คนที่มาใช้บริการรถลักษณะนี้ก็จะเป็นกลุ่มห้างร้านกิจการค้าเสียยิ่งกว่า
พร้อมทั้งมักจะเป็นผู้บริโภคบ่อยเสียด้วย
ซึ่งหากท่านอำนาจมองดูหาบริการรถรับจ้างสำหรับขนถ่ายของ
ขนของซื้อของขายในคราวทางห่างอยู่ล่ะก็ ฉันขอหยิบยกรถ 10 ล้อรับจ้างกันเลย
พร้อมด้วยเหตุด้วยรถเทรลเลอร์และรถพ่วงหากมองในแง่ของกลุ่มผู้ใช้หลักๆก็อาจต้องบอกว่าราวกับกันกับรถ
10 ล้อรับจ้างล่วงพ้น
แต่อาจจะเป็นของซื้อของขายคนละแบบกันมากกว่าเนื่องด้วยจุดเด่นของรถพ่วงเป็นสามารถป้องกันของซื้อของขายจากสิ่งแวดล้อมได้โน่นเองจึงมีราคาค่าจ้างงานที่มีราคายิ่งกว่า
อย่างไรก็ตามเช่นใดก็ตามทั้งรถพ่วงพร้อมทั้งรถเทรลเลอร์ก็สามารถบรรทุกได้ยิ่งกว่ารถ
10 ล้อถึงเกือบๆ 2 เพียงล่วงเลยทีเดียว
อีกทั้งรถเทรนเลอร์ยังสามารถทุกรถขนาดใหญ่วิธีรถไถ รถเม็คโครได้อีกด้วย
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง: http://xn--12ccp1dfod4eca5f5hmi.net/
facebook: https://www.facebook.com/chaiyapoomcar
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น