รถลาก รถยก รถสไลด์0935431132 จังหวัดอ่างทอง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอไชโย
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอป่าโมก
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอโพธิ์ทอง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอเมืองอ่างทอง
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอวิเศษชัยชาญ
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอแสวงหา
รถลาก รถยก รถสไลด์ อำเภอสามโก้
เข้าดูผลงานที่ http://www.4-6-10trucks.com/index.php/board,14.0.html
จังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด คือรูปอ่างทอง ในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าว จังหวัดอ่างทองเป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นแอ่งรับน้ำภูมิประเทศเหมาะแก่การเพาะปลูก ดวงตราของจังหวัดจึงเป็นรูปอ่างสีทองซึ่งหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของจังหวัด และในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าวซึ่งหมายถึงการทำนา อาชีพหลักของคนในภูมิภาคนี้
ต้นไม้ประจำจังหวัด คือ มะพลับ (Diospyros malabarica)
คำขวัญ คือ พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่ วีรไทยใจกล้า ตุ๊กตาชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานทำกลอง เมืองสองพระนอน
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดอ่างทองเป็นพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง พิกัดภูมิศาสตร์เส้นรุ้งที่ 14 องศา 35 ลิปดา 12 พิลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 100 องศา 27 ลิปดา ห่างจากกรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (บางปะอิน-พยุหะคีรี) ระยะทางประมาณ 108 กิโลเมตร และเส้นทางเรือตามแม่น้ำเจ้าพระยาถึงตลาดท่าเตียน ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร มีรูปร่างลักษณะคล้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีส่วนกว้างตามแนวทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตก และส่วนยาวตามแนวทิศเหนือถึงทิศใต้ใกล้เคียงกัน คือ ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 968.372 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 605,232.5 ไร่ และมีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอค่ายบางระจัน อำเภอพรหมบุรี อำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี และ อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอผักไห่และอำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางปะหัน อำเภอมหาราช และ อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอศรีประจันต์ อำเภอสามชุก และอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ภูมิประเทศ
จังหวัดอ่างทอง มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะคล้ายอ่าง ไม่มีภูเขา ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การปลูกข้าว ทำไร่ ทำนา และทำสวน และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน 2 สาย คือแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อย แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายแขนงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง ซึ่งไหลผ่านอำเภอไชโย อำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก รวมระยะทางที่ไหลผ่านจังหวัดอ่างทองประมาณ 40 กิโลเมตร
ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในโซนร้อนและชุ่มชื้น เป็นแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งในช่วงนี้ และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ทำให้มีเมฆมากและฝนตกชุกในช่วงนี้
ประชากร
เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2552 จังหวัดอ่างทองมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 284,807 คน จำแนกเป็นชาย 136,964 คน เป็นหญิง 147,843 คน (อันดับที่ 69 ของประเทศ) จำนวนบ้าน 85,838 หลัง ความหนาแน่นของประชากร 294.11 ตร.กม (อันดับที่ 11 ของประเทศ)
ศาลหลักเมือง
หลักเมือง มีความหมายว่า เป็นประธานของเมือง เป็นศูนย์รวมความมั่นคงของเมือง เป็นนิมิตมงคลของเมือง เป็นหลักชัย หลักใจ และศูนย์รวมความสามัคคีของประชาชน หลักเมืองจะเป็นเสาหลักโดดเด่น ไม่มีภาพ รูป หรือพระพุทธรูป การสร้างหลักเมืองต้องขอพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศก่อน เมื่อได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือเจ้าเมืองจึงจะดำเนินการสร้างต่อไปได้
เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่าเสาหลักเมืองและศาลหลักเมือง จังหวัดอ่างทอง ได้มีปรากฏอยู่ที่ใด คณะสงฆ์ ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชนจังหวัดอ่างทองจึงได้ร่วมใจกันจัดหาทุนสร้างศาลหลักเมืองขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและความสามัคคีของประชาชนในจังหวัด จังหวัดอ่างทอง ได้มอบให้นายกำจัด คงมีสุข ข้าราชการครูบำนาญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมไทยเป็นผู้ออกแบบสร้างศาลหลักเมือง และมีพระครูวิเศษชัยวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดชัยมงคลเป็นที่ปรึกษา
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ได้เสด็จไปเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2533 การก่อสร้างสำเร็จเรียบร้อย เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2534 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้ว่าราชการจังหวัด (นายทวีป ทวีพาณิชย์) เข้าเฝ้าน้อมเกล้า ฯ ถวายยอดเสาหลักเมืองเพื่อทรงเจิม ทรงพระสุหร่าย และทรงบรรจุ แผ่นยันต์เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2534 เวลา 16.30 น. ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุมารเสด็จแทนพระองค์ไปทรงประกอบพิธียกเสาหลัก เมืองและเปิดศาลหลักเมืองเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2534 เวลา 15.30 น
ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง อยู่ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด เป็นอาคารจตุรมุข (4 หน้า) ยอดปรางค์หลังคาเป็นปูนซีเมนต์ฉาบสีแดงตัวศาลสูงจากพื้นประมาณ 1.5 เมตร ภายในศาลเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังภา พุ่มข้าวบิณฑก้านแยกสวยงามมาก ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง เป็นศาลหลักเมืองแห่งที่ 2 ที่มีการเขียนภาพ จิตรกรรมฝาผนังทั้ง 4 ด้าน
เสาหลักเมืองซึ่งประดิษฐ์อยู่ในศาลหลักเมืองบนแท่นแปดเหลี่ยมพื้นปูด้วยหินอ่อนทำจากไม้ชัยพฤกษ์ซึ่ง ถือเป็นไม้มงคล คัดจาก 1 ในจำนวน 5 ต้น ที่นิคมสร้างตนเองพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี มีลักษณะที่เรียกว่า ไม้ขานาง คือลำต้นตรงขึ้นไปแล้วแยกเป็น 2 กิ่ง แบบง่ามหนังสติ๊กโบราณถือว่าเป็นไม้ที่เหมาะจะเป็นเสาโบสถ์ หรือเสาวิการ ไม้มงคลซึ่งนำมาทำเป็นเสาหลักเมืองของจังหวัดอ่างทองนั้นได้ผ่านพิธีคัดเลือก ต้นไม้ พิธีตัด พิธีอัญเชิญ พิธีกลึงเสาและฉลองรับขวัญอย่างถูกต้อง ตามพิธีหลวงของสำนักพระราชวังทุกประการ เสาหลักเมืองนี้ได้รับการตกแต่งแกะสลักลงรักปิดทองจากพระครูวิเศษชัยวัฒน์และนายกำจัด คงมีสุข ซึ่งเป็น ชาวอ่างทอง และมีความชำนาญในการสร้างเมืองมาหลายจังหวัดแล้ว
ด้านทิศเหนือของศาลหลักเมืองมีศาลาตรีมุข ซึ่งใช้เป็นที่ประทับหรือที่นั่งขององค์ประธานหรือประธาน ในการประกอบพิธีต่าง ๆ ด้านทิศใต้มีศาลาทรงไทย 2 หลัง ใช้เป็นสถานที่ให้บริจาคบูชาวัตถุมงคล และดอกไม้ ธูป เทียน ด้านทิศใต้มีศาลาเรือนไทย เป็นที่รวบรวมของดีเมืองอ่างทองมาจำหน่ายระหว่างตัวศาลหลักเมือง คือ ศาลาตรีมุขซึ่งห่างกันประมาณ 30 เมตร เป็นลานกว้างใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมและการแสดงต่าง ๆ บริเวณศาลหลักเมืองมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1.5 ไร่ จึงสามารถจัดทำสวนดอกไม้ สวนหย่อม และปลูกหญ้าได้สวยงาม
ศาลหลักเมืองของจังหวัดอ่างทอง เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สวยงามสมกับเป็นหลักชัยและหลักใจของประชาชน ชาวอ่างทองอย่างยิ่ง ผู้มีโอกาสไปเยือนจังหวัดอ่างทองไม่ควรละเว้นที่จะไปเคารพสักการะศาลหลักเมืองและหาของดีเมืองอ่างทองบริเวณศาลนั้น เพื่อเป็นสมบัติประจำตนและเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
อำเภอในจังหวัดอ่างทอง
จังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด คือรูปอ่างทอง ในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าว จังหวัดอ่างทองเป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นแอ่งรับน้ำภูมิประเทศเหมาะแก่การเพาะปลูก ดวงตราของจังหวัดจึงเป็นรูปอ่างสีทองซึ่งหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของจังหวัด และในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าวซึ่งหมายถึงการทำนา อาชีพหลักของคนในภูมิภาคนี้
ต้นไม้ประจำจังหวัด คือ มะพลับ (Diospyros malabarica)
คำขวัญ คือ พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่ วีรไทยใจกล้า ตุ๊กตาชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานทำกลอง เมืองสองพระนอน
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดอ่างทองเป็นพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง พิกัดภูมิศาสตร์เส้นรุ้งที่ 14 องศา 35 ลิปดา 12 พิลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 100 องศา 27 ลิปดา ห่างจากกรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (บางปะอิน-พยุหะคีรี) ระยะทางประมาณ 108 กิโลเมตร และเส้นทางเรือตามแม่น้ำเจ้าพระยาถึงตลาดท่าเตียน ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร มีรูปร่างลักษณะคล้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีส่วนกว้างตามแนวทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตก และส่วนยาวตามแนวทิศเหนือถึงทิศใต้ใกล้เคียงกัน คือ ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 968.372 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 605,232.5 ไร่ และมีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอค่ายบางระจัน อำเภอพรหมบุรี อำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี และ อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอผักไห่และอำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางปะหัน อำเภอมหาราช และ อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอศรีประจันต์ อำเภอสามชุก และอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ภูมิประเทศ
จังหวัดอ่างทอง มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะคล้ายอ่าง ไม่มีภูเขา ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การปลูกข้าว ทำไร่ ทำนา และทำสวน และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน 2 สาย คือแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อย แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายแขนงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง ซึ่งไหลผ่านอำเภอไชโย อำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก รวมระยะทางที่ไหลผ่านจังหวัดอ่างทองประมาณ 40 กิโลเมตร
ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในโซนร้อนและชุ่มชื้น เป็นแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งในช่วงนี้ และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ทำให้มีเมฆมากและฝนตกชุกในช่วงนี้
ประชากร
เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2552 จังหวัดอ่างทองมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 284,807 คน จำแนกเป็นชาย 136,964 คน เป็นหญิง 147,843 คน (อันดับที่ 69 ของประเทศ) จำนวนบ้าน 85,838 หลัง ความหนาแน่นของประชากร 294.11 ตร.กม (อันดับที่ 11 ของประเทศ)
ศาลหลักเมือง
หลักเมือง มีความหมายว่า เป็นประธานของเมือง เป็นศูนย์รวมความมั่นคงของเมือง เป็นนิมิตมงคลของเมือง เป็นหลักชัย หลักใจ และศูนย์รวมความสามัคคีของประชาชน หลักเมืองจะเป็นเสาหลักโดดเด่น ไม่มีภาพ รูป หรือพระพุทธรูป การสร้างหลักเมืองต้องขอพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศก่อน เมื่อได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือเจ้าเมืองจึงจะดำเนินการสร้างต่อไปได้
เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่าเสาหลักเมืองและศาลหลักเมือง จังหวัดอ่างทอง ได้มีปรากฏอยู่ที่ใด คณะสงฆ์ ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชนจังหวัดอ่างทองจึงได้ร่วมใจกันจัดหาทุนสร้างศาลหลักเมืองขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและความสามัคคีของประชาชนในจังหวัด จังหวัดอ่างทอง ได้มอบให้นายกำจัด คงมีสุข ข้าราชการครูบำนาญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมไทยเป็นผู้ออกแบบสร้างศาลหลักเมือง และมีพระครูวิเศษชัยวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดชัยมงคลเป็นที่ปรึกษา
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ได้เสด็จไปเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2533 การก่อสร้างสำเร็จเรียบร้อย เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2534 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้ว่าราชการจังหวัด (นายทวีป ทวีพาณิชย์) เข้าเฝ้าน้อมเกล้า ฯ ถวายยอดเสาหลักเมืองเพื่อทรงเจิม ทรงพระสุหร่าย และทรงบรรจุ แผ่นยันต์เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2534 เวลา 16.30 น. ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุมารเสด็จแทนพระองค์ไปทรงประกอบพิธียกเสาหลัก เมืองและเปิดศาลหลักเมืองเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2534 เวลา 15.30 น
ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง อยู่ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด เป็นอาคารจตุรมุข (4 หน้า) ยอดปรางค์หลังคาเป็นปูนซีเมนต์ฉาบสีแดงตัวศาลสูงจากพื้นประมาณ 1.5 เมตร ภายในศาลเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังภา พุ่มข้าวบิณฑก้านแยกสวยงามมาก ศาลหลักเมืองจังหวัดอ่างทอง เป็นศาลหลักเมืองแห่งที่ 2 ที่มีการเขียนภาพ จิตรกรรมฝาผนังทั้ง 4 ด้าน
เสาหลักเมืองซึ่งประดิษฐ์อยู่ในศาลหลักเมืองบนแท่นแปดเหลี่ยมพื้นปูด้วยหินอ่อนทำจากไม้ชัยพฤกษ์ซึ่ง ถือเป็นไม้มงคล คัดจาก 1 ในจำนวน 5 ต้น ที่นิคมสร้างตนเองพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี มีลักษณะที่เรียกว่า ไม้ขานาง คือลำต้นตรงขึ้นไปแล้วแยกเป็น 2 กิ่ง แบบง่ามหนังสติ๊กโบราณถือว่าเป็นไม้ที่เหมาะจะเป็นเสาโบสถ์ หรือเสาวิการ ไม้มงคลซึ่งนำมาทำเป็นเสาหลักเมืองของจังหวัดอ่างทองนั้นได้ผ่านพิธีคัดเลือก ต้นไม้ พิธีตัด พิธีอัญเชิญ พิธีกลึงเสาและฉลองรับขวัญอย่างถูกต้อง ตามพิธีหลวงของสำนักพระราชวังทุกประการ เสาหลักเมืองนี้ได้รับการตกแต่งแกะสลักลงรักปิดทองจากพระครูวิเศษชัยวัฒน์และนายกำจัด คงมีสุข ซึ่งเป็น ชาวอ่างทอง และมีความชำนาญในการสร้างเมืองมาหลายจังหวัดแล้ว
ด้านทิศเหนือของศาลหลักเมืองมีศาลาตรีมุข ซึ่งใช้เป็นที่ประทับหรือที่นั่งขององค์ประธานหรือประธาน ในการประกอบพิธีต่าง ๆ ด้านทิศใต้มีศาลาทรงไทย 2 หลัง ใช้เป็นสถานที่ให้บริจาคบูชาวัตถุมงคล และดอกไม้ ธูป เทียน ด้านทิศใต้มีศาลาเรือนไทย เป็นที่รวบรวมของดีเมืองอ่างทองมาจำหน่ายระหว่างตัวศาลหลักเมือง คือ ศาลาตรีมุขซึ่งห่างกันประมาณ 30 เมตร เป็นลานกว้างใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมและการแสดงต่าง ๆ บริเวณศาลหลักเมืองมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1.5 ไร่ จึงสามารถจัดทำสวนดอกไม้ สวนหย่อม และปลูกหญ้าได้สวยงาม
ศาลหลักเมืองของจังหวัดอ่างทอง เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สวยงามสมกับเป็นหลักชัยและหลักใจของประชาชน ชาวอ่างทองอย่างยิ่ง ผู้มีโอกาสไปเยือนจังหวัดอ่างทองไม่ควรละเว้นที่จะไปเคารพสักการะศาลหลักเมืองและหาของดีเมืองอ่างทองบริเวณศาลนั้น เพื่อเป็นสมบัติประจำตนและเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
อำเภอในจังหวัดอ่างทอง
บริการรถกระบะรับจ้างอ่างทอง
บริการรถรับจ้างขนย้ายอ่างทอง
เวลาในสยาม
คีบได้ว่าหมายถึงอีกหนึ่งรูปแบบของกิจการการให้บริการที่เจริญเป็นอย่างมากตามระบบเศรษฐกิจพร้อมทั้งการคมนาคมที่ราบรื่นเร็วขึ้นของสยามพร้อมด้วยแน่นอนว่าโน่นเป้นเรื่องที่ดีไปแล้วเพราะว่าธุรกิจที่ตอบโตนี้ทำให้ข้าพเจ้าได้รับสินค้าที่สะดวกด่วนขึ้นมากนั่นเอง
ซึ่งชิ้นส่วนหนึ่งก็อาจหาญจะเกิดจากระบบการต่อสู้เพื่อให้แย่ง
ลูกค้ากันของบ.ผู้ให้บริการรถรับจ้างย้ายของซื้อของขายภายในประเทศหรือนอกเมืองไทยนั่นเอง
แห่งจงจัดโปรโมชั่นหรือวิวรรธน์คุณลักษณะงานบริการของท่อนให้เหนือชั้นกว่าคนอื่นไปล้วนนั่นเอง
บริการรถรับจ้างย้ายสินค้าข้างในเมืองไทยที่ได้รับความนิยมมากๆ
กล้าหาญจะบอกไม่ได้นักว่าเป็นบริการจากทาง
กงสีผู้ให้บริการรายใด
อย่างไรก็ดีอย่างน้อยๆฉันก็เชี่ยวชาญแจ้งให้ทราบได้ว่าบริการรถรับจ้างขนย้ายของซื้อของขายด้านในสยามที่ได้รับความการกำหนดมากที่สุดก็เป็นบริการรถสิบล้อของซื้อของขายจังหวัดอ่างทอง
นั่นเอง
เกี่ยวข้องจากบริการประเภทนี้จะเชี่ยวชาญตอบสนองแก่ความต้องการการขนของซื้อของขายได้ไม่เบาพร้อมกับด่วนที่สุดวิธีหนึ่งในเหตุที่เมืองนั้นไม่มีสนามบินวิธีตัวอย่างเช่นอ่างทอง
กระทำให้การขนสินค้าด้วยรถบรรทุกเป็นวิธีการที่น่าจะจะเร็วทันใจที่สุด
ราบรื่นพร้อมทั้งเหมาะสมสุดๆนั่นเองหากหากว่าเป็นขนผลิตภัณฑ์ในคราวทางสั้นแล้วการใช้งานรถหกล้อรับจ้างอ่างทอง
ควรจะจะเป็นบริการที่ตอบโจทย์ได้มากที่สุดๆเพราะรถหกล้อรับจ้างซึ่งจัดว่าเป็นรถบรรทุกของซื้อของขายขนาดกลางนั้นมีปริมาณการขนที่จัดได้ว่ามากในระดับหนึ่งพร้อมด้วยมีราคาค่าจ้างงานที่ถูก
เก่งเข้าถึงพื้นที่แคบๆได้ดิบได้ดีกว่ารถสิบล้อสินค้าความจุที่โตกว่านี้นั่นเอง
แต่ก็มีข้อบกพร่องกว่าในเรื่องของการก่อเหตุขึ้นเร็วนั่นเอง
แต่ถ้าแม้ว่าเป็นขนสินค้าในเวลาทางไกลลิบแล้วกระผมขอสั่งสอนรถสิบล้อสินค้า
2 แบบ หนึ่งคือรถ 10 ล้อรับจ้างจังหวัดอ่างทอง เนื่องด้วยรถ 10
ล้อนั้นมีจุดแข็งในเรื่องของส่วนแบ่งการบรรทุกได้มากและเก่งขนย้ายผลิตภัณฑ์ได้อย่างเร็ว
ค่าค่าจ้างงานอาศัยในระดับกลาง ซึ่งรถ 10
ล้อรับจ้างนั้นสามารถตอบโจทย์การขนย้ายได้ทั้งสินค้าทั่วถึงผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรพร้อมด้วยสิ่งของที่มีขนาดใหญ่ๆด้วยซ้ำนั่นเอง
ข้างนอกจากนี้รถรับจ้างสิบล้อของเรา อีกทั้งเชี่ยวชาญให้บริการด้านอื่นๆ หาได้อีกแยะบริการกันล่วงพ้น
พร้อมด้วยรถใส่ประเภทที่
2 ที่สั่งสอนก็เป็นรถเทรลเลอร์พร้อมกับรถพ่วงจังหวัดอ่างทอง ข้อดีของรถ 2
พรรค์นี้หมายถึงความรวดเร็วนั่นเอง
ซึ่งรถพรรค์นี้เหมาะหับการขนย้ายของซื้อของขายค่าสูงทั้งทางขั้วปริมารอย่างรถพ่วงซึ่งมีจำนวนการขนย้ายมาก
พร้อมทั้งด้านมูลค่าสินค้าทำนองรถพ่วงซึ่งมักจะถูกนำมาใช้ในการขนส่งของซื้อของขายอย่างรถยนต์นั่นเอง
กระทำให้
ค่าค่าจ้างงานของรถสิบล้อวงการนี้มีราคาสูงที่มากนั่นเอง
ทดลองมาใช้บริการกันดู แล้วไปคุณจะไม่คว้าน้ำเหลวอย่างมั่นใจ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง: http://phone0831514162.blogspot.com/
facebook: https://www.facebook.com/AngThong4610
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น